ปีงบประมาณ แหล่งทุน ชื่อโครงการวิจัย ผู้วิจัย/หน่วยงาน
2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การขยายผลธนาคารปูม้าในพื้นที่ชายฝั่งอ่าวไทยฝั่งตะวันตกในเขตจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เพื่อการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน (ระยะที่ 3)
The Expansion of Blue Swimming Crab Bank in the West Coast of the Gulf of Thailand in Phetchaburi and Prachuap Khiri Khan Region for Sustainable Coastal Restoration (Phase III)
1. ภวพล คงชุม (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. นรินทร์ สังข์รักษา – สาขาวิชาการจัดการชุมชน คณะวิทยาการจัดการ
3. สมฤดี ศิลาฤดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. อนวัช บุญญภักดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
5. สรณฐ โชตินิพัทธ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
6. สาวิกา กัลปพฤกษ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
7. ทิพย์สุดา ชงัดเวช – ม.ราชภัฏเพชรบุรี
8. พัชรินทร์ สายพัฒนะ – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การพัฒนาสูตรอาหารที่ใช้โพรไบโอติกส์ที่มีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันและการเจริญเติบโตในการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่พื้นเมืองเพื่อเป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการเลี้ยงไก่พื้นเมืองในระบบมาตรฐานปศุสัตว์อินทรีย์
The Nutritional Development of Using Immuno-Moderating and Growth Promotion Probiotics in Native chicken as a preparation factor for Native Chicken raising to Organic Farming Standard
1. จารุณี เกษรพิกุล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การศึกษาลักษณะจำเพาะและผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของขยะอาหารจากการท่องเที่ยวและกิจการที่เกี่ยวเนื่องในพื้นที่อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจจากการเพิ่มมูลค่าไก่พื้นเมืองโดยการบริหารกลุ่มเกษตรกรผ่านการจัดการความรู้และส่งเสริมการตลาดเพื่ออนุรักษ์ไก่พื้นเมืองอย่างยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี
Building Economic Strength of Value-added Thai Native Chicken by Managing Farmer’s Assocaitions through Knowledge Management and Marketing Campaign for Sustainable Conservation of Native Chicken in Petchburi Province
1. พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุภาวดี มานะไตรนนท์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ภวัต เสรีตระกูล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. จันทร์จิรา สิทธิยะ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
5. วิไลวรรณ สิริโรจนพุฒิ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
6. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โครงการความหลากชนิดและความหลากหลายทางพันธุกรรมของจิ้งหรีดที่เลี้ยงเชิงพาณิชย์ในประเทศไทย
Species diversity and genetic diversity of commercially-farmed crickets in Thailand
1. กฤษณะ เรืองฤทธิ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ภวัต เสรีตระกูล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2564 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การวิจัย พัฒนา และเพิ่มมูลค่าของนวัตกรรมจากน้ำนมกระบือที่มีกรดคอนจูเกเตดไลโนเลอิกสูง เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการผลิต และยกระดับการแข่งขันในระบบธุรกิจเกษตร” โครงการวิจัยย่อยที่ 1 การศึกษาผลของคุณภาพ ชนิด, ปริมาณ และรูปแบบการให้อาหารสัตว์ที่มีต่อปริมาณสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ Conjugated Linoleic Acid (CLA) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและปริมาณ CLA ในน้ำนมกระบือ 1. ศรัณย์พงศ์ ทองเรือง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อนันท์ เชาว์เครือ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การประเมินสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของมะม่วง 1. สรารัตน์ มนต์ขลัง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ปณิดา ดวงแก้ว – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การวิจัยและพัฒนาวิธีการตรวจสอบกิจกรรมของเอนไซม์ยูรีเอสในถั่วเหลืองแบบแม่นยำ โดยการวิเคราะห์ภาพถ่ายด้วยปัญญาประดิษฐ์
Research and development of precise method for measuring urease activity in soybean by image analysis with artificial intelligence
1. มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 2. อรวรรณ เชาวลิต – ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์
2563 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การศึกษาการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสโดยเทคโนโลยีฟาจ
Study of Cellulase Production Using Phage display technology
ดาวรุ่ง ศิลาอ่อน (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การศึกษาการแสดงออกของยีนหักล้มในข้าวไร่ด้วยวิธี Realtime RT-qPCR
Study of lodging genes expression in upland rice using Realtime RT-qPCR
1. เชาวนี เล้าสุทธิพงษ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ภวัต เสรีตระกูล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของการเสริมโอลิโกแซคคาไรด์จากกากมะพร้าวต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต ลักษณะซาก และลักษณะสัณฐานวิทยาของลำไส้ของไก่กระทง
Effect of dietary oligosaccharide from copra meal on performance, carcass traits and intestinal morphology in broilers
1. จันทร์จิรา สิทธิยะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุภาวดี ฉิมทอง – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของการใช้แบคทีเรียผลิตกรดแลคติคจากน้ำพืชหมักเป็นสารเสริมในการหมักเปลือกตาลอ่อนและใบสับปะรดต่อผลผลิตแก๊ส และการย่อยได้โภชนะในหลอดทดลอง
Effect of fermented juice of epiphytic lactic acid bacteria (FJLB) as silage additive in sugar palm peel and pineapple leaves on gas production and digestibility in vitro technique
1. พรพรรณ แสนภูมิ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. เสมอใจ บุรีนอก
3. สุภาวดี ฉิมทอง – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. อนันท์ เชาว์เครือ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การลดสารพิษมิโมซินและเพิ่มสารแอนติออกซิแดนท์เบต้าแคโรทีนด้วยเทคนิคกระบวนการหมักเพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์ได้ของกระถินเป็นอาหารสัตว์คุณภาพสูง 1. อนันท์ เชาว์เครือ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ยงยุทธ สินโพธิ์
2563 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ศึกษาการเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยแบบแม่นยำและการใช้ปุ๋ยตามวิธีการของเกษตรกร ต่อประสิทธิภาพการผลิตข้าว การปลดปล่อยแก๊สมีเทนและแก๊สไนตรัสออกไซด์
Comparison studying of precision fertilizer management practice and farmer’s fertilizer management practice on efficiency of rice production, methane and nitrous oxide emission
1. ธนวดี พรหมจันทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 ศูนย์กลางนวัตกรรมอาหารแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับ สวทช การสร้างแนวคิดผลิตภัณฑ์ปลากะพงยักษ์ตัดแต่งแช่แข็ง
Product Conceptualization for Frozen Cutlets from Riant Asian Sea Bass (Lates calcarifer)
1. มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 2. ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ์ รักษาศิริ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. สรณฐ โชตินิพัทธ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 สป.อว. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การจัดการปุ๋ยแบบแม่นยำร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งเพื่อเพิ่มสมรรถนะการผลิตและลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของระบบการผลิตข้าว” โครงการย่อยที่ 1 ลักษณะทางพฤกศาสตร์ ประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนและสมรรถนะการผลิตของข้าวที่มีการจัดการปุ๋ยแบบแม่นยำโดยใช้แอพพลิเคชัน all-rice1 ร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง
A combination of precision fertilizer management practices and alternate wetting/drying water management practices to improved productivity and reduced environmental impacts of rice production systems
1. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ธนวดี พรหมจันทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ธีรยุทธ คล้ำชื่น – ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
4. บรรพต มามาก – ศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
2563 สป.อว. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การจัดการปุ๋ยแบบแม่นยำร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งเพื่อเพิ่มสมรรถนะการผลิตและลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของระบบการผลิตข้าว” โครงการย่อยที่ 2 การเปรียบเทียบผลผลิต ต้นทุนการผลิตและผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างระบบการปลูกข้าวที่มีการจัดการปุ๋ยแบบแม่นยำโดยใช้แอพพลิเคชัน all-rice1 ร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง และระบบการปลูกข้าวของเกษตรกรในพื้นที่ชลประทาน 1. จีระศักดิ์ ชอบแต่ง (หน.) – กรมปศุสัตว์
2. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. วิไลวรรณ สิริโรจนพุฒิ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ศิริวรรณ แดงฉ่ำ – ม.ราชภัฏเพชรบุรี
2563 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลาทะเลสวยงาม กลุ่มปลาสลิดหิน (Damselfishes) ปลาบู่ (Gobies) และกุ้งมดแดง (Dancing Shrimp) จากธรรมชาติสู่การผลิตเชิงพานิชย์
Research and development of pilot scale production of marine ornamental animals (Damselfishes, Gobies, and Dancing shrimp)
1. วรเทพ มุธุวรรณ (หน.)
2. นางสาววิรชา เจริญดี
3. สรณฐ โชตินิพัทธ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. นางปรารถนา ควรดี
5. นางสาววิไลวรรณ พวงสันเทีย
6. นางสาวศิรประภา ฟ้ากระจ่าง
7. นางสาวอมรรัตน์ กนกรุ่ง
8. สาวรติมา ครุวรรณเจริญ
9. ชนม์ ภู่สุวรรณ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
10. นายชนะ เทศคง
11. นางพัชริดา รัตนวัฒนาพงษ์
12. นายไพรัช ทองระอา
13. นางวรรณเพ็ญ เกตุกล่ำ
2563 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การพัฒนาชุมชนต้นแบบด้วยการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และยั่งยืนเพื่อยกระดับจังหวัดเพชรบุรีสู่เมืองสร้างสรรค์
Community Cevelopment Model with Creative and Sustainable Tourism to Promote Petchaburi Province as a Creative City
1. ประสพชัย พสุนนท์ (หน.) – สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมทางธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
2. ธีระวัฒน์ จันทึก – สาขาวิชาการจัดการงานนิทรรศการและงานอีเว้นท์ คณะวิทยาการจัดการ
3. รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง – ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี
4. เฉลิมพร สิริวิชัย – วิทยาลัยนานาชาติ
5. ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ์ รักษาศิริ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
6. วุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์ – สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
7. มนัสสินี บุญมีศรีสง่า – สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ
8. ปณิตา วงศ์มหาดเล็ก – ภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
9. จิตพนธ์ ชุมเกตุ – สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ
10. เกตุวดี สมบูรณ์ทวี
11. ระชานนท์ ทวีผล – สาขาวิชาการจัดการโรงแรม คณะวิทยาการจัดการ
12. สยุมพร กาษรสุวรรณ – ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์
13. ชวนพ ชีวรัศมี – คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
14. ณนนท์ แดงสังวาลย์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
15. ธงชัย ทองมา – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
16. สุรภัทร์ พิไชยแพทย์ – สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ
2563 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) การใช้น้ำตาลโอลิโกแซกคาไรด์จากหน่อไม้ (Dendrocalamus asper) เพื่อใช้เป็นพรีไบโอติกส์ในการผลิตสัตว์ปีก จันทร์จิรา สิทธิยะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) การประเมินศักยภาพของแอลฟาแมงโกสทินที่สกัดจากมังคุดเพื่อใช้ทดแทนยาปฏิชีวนะในการป้องกันโรคเต้านมอักเสบของโคนมในระยะการพักรีด อรรถพล เทียนทอง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เครื่องหมายไก่อารมณ์ดี : การพัฒนาเครื่องหมายพันธุกรรมและเหนือพันธุกรรมสำหรับระบบการเลี้ยงไก่พื้นเมืองไทยแบบปล่อยอิสระ ภวัต เสรีตระกูล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) การทำมาตรฐานวัตถุดิบและสารสกัดจากเปลือกผลมังคุดและเปลือกผลทับทิมเพื่อทดแทนยากันบิดในไก่เนื้อ
Standardization of raw material and extract of mangosteen and pomegranate pericarp for anticoccidial drug replacement in broilers
1. ธนะเศรษฐ์ ง้าวหิรัญพัฒน์ (หน.) – มหาวิทยาลัยศิลปากร
2. ปราณีต โอปณะโสภิต – ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์
3. เพ็ญพรรณ เวชวิทยาขลัง – ภาควิชาเภสัชเวท คณะเภสัชศาสตร์
4. ประสพชัย พัฒน์โรจนโสภณ – ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์
5. ภวพล คงชุม – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
6. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
7. จันทร์จิรา สิทธิยะ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
8. พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) การสะสมไมโครพลาสติกในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิดในชายฝั่งทะเลประเทศไทย
Microplastic accumulation in Saint Mary in which bread from Thai coastline
1. สมฤดี ศิลาฤดี (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อนวัช บุญญภักดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ชนม์ ภู่สุวรรณ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. คุณาดล ศิลาฤดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
5. วสุนันท์ นิ่มอนงค์ – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2563 หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “อาหารฟังก์ชั่นเพื่อทดแทนการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์เศรษฐกิจ” โครงการย่อยที่ 5 การใช้อาหารฟังก์ชันเพื่อทดแทนการใช้ยาปฏิชีวนะในการผลิตไก่เนื้อและสุกร 1. พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. จันทร์จิรา สิทธิยะ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. อรรถพล เทียนทอง – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 กองงานยุทธศาสตร์ สำนักงานปศุสัตว์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การพัฒนาศักยภาพด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อ Beef master เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน และการพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์
The development of beef master processing to develop into a community product and commercial development
ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ์ รักษาศิริ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การพัฒนาวิธีทางพันธุศาสตร์โมเลกุลเพื่อการเพาะขยายพันธุ์และอนุรักษ์ประชากรนกชาปีไหน (Caloenas nicobarica) และเนื้อทราย (Axis Porcinus)
Molecular genetic approaches for breeding and conservation of Nicobar pigeon (Caloenas nicobarica) and hog deer (Axis Porcinus) population
ภวัต เสรีตระกูล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การพัฒนาศักยภาพด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อแพะและผลิตผลพลอยได้จากแพะในเชิงอุตสาหกรรม
Development of farm management system using modern technology and disease diagnosis increasing goat productivity
ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ์ รักษาศิริ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การวิเคราะห์อนุกรมเวลาสำหรับข้อมูลภูมิอากาศในเขตภาคตะวันตกของประเทศไทย
Time Series Analysis of Weather Data in Western Area of Thailand
1. อรอุมา ทองหล่อ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุภาวดี มานะไตรนนท์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การศึกษาคุณภาพดินตะกอนและกักเก็บคาร์บอนในบ่อดิน: กรณีศึกษาการเลี้ยงปลาช่อนจังหวัดเพชรบุรี
A study on sediment qualities and carbon sequestration in the earthen pond: case study of snakehead (Channa striata) Phetchaburi province
1. สาวิกา กัลปพฤกษ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. แก้วตา ลิ้มเฮง – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พัชรินทร์ สายพัฒนะ – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของการเสริมผงถ่านไม้ไผ่ต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปลาอีกง
Effect of bamboo charcoal powder supplementation on growth performance and survival rate of Long-whiskered catfish (Mystus gulio)
1. สมฤดี ศิลาฤดี (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. คุณาดล ศิลาฤดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 งบประมาณ แผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 การวิจัยและพัฒนาแคโรทีนอยด์จากสาหร่ายขนาดเล็กเพื่อเพิ่มการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของลูกกุ้งขาว
Research and Development of Carotenoids from Microalgae to Enhance White Shrimp Larval Growth and Survival Rate
1. สุพรรษา ขันธโสภา (หน.)
2. รุ่งนภา กันพร้อม
3. แก้วตา ลิ้มเฮง – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. สายัณห์ นันชะนะ
5. นารินทร์ จันทร์สว่าง
6. นวลจันทร์ ใจใส
7. ปกฉัตร กุศลกรรมบถ
2562 บริษัท ยีสต์มาสเตอร์ฟาร์ม จำกัด การใช้สารสกัดเข้มข้นจากสับปะรด (ไดเจส บรอม®) ในอาหารต่อปริมาณเชื้ออีโคไล คุณลักษณะทางกายภาพของมูล และประสิทธิภาพการผลิตของลูกสุกรหลังหย่านม ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 ศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำเพชรบุรี ผลของช่วงแสงต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปูม้าวัยอ่อน จนถึงวัยเจริญพันธุ์สำหรับการสร้างประชากรพื้นฐาน
Effect of photopenia on cloth performance and survival rate off the young crab to sexual maturity of blue swimming crab
1. สาธิต คำผง (หน.) – ศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำเพชรบุรี
2. นิรุต แก่นเชื้อชัย
3. กฤษณุพันธ์ โกเมนไปรรินทร์
4. เกษม หอมโชติ
5. มีชัย แก้วศรีทอง
6. อนวัช บุญญภักดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สกสว. มาตรการทางกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคสินค้าจากปศุสัตว์ 1. สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 2. จารุณี เกษรพิกุล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการทำนาข้าวอินทรีย์ในจังหวัดเพชรบุรี” โครงการย่อยที่ 2 การมีส่วนร่วมของชุมชนในการผลิตข้าวอินทรีย์ในจังหวัดเพชรบุรี
Organic rice paddy field process using participatory learning of community in Phetchaburi province
1. สุดารัตน์ ไชยเฉลิม (หน.) – ม.ราชภัฏเพชรบุรี
2. ศิริพรรณ ศรัทธาผล – ม.ราชภัฏเพชรบุรี
3. กฤษณะ เรืองฤทธิ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ชนิดา ศรีสาคร – ม.ราชภัฏเพชรบุรี
2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การใช้สารเคลือบผิวแอลจิเนตร่วมกับน้ำมันหอมระเหยผิวส้มในการยืดอายุการเก็บรักษาส้มโอแปรรูปพร้อมบริโภค
Use of Alginate Based Coating with Orange Essential Oil on Extend shelf life of Fresh Cut Pomelo
พฤฒิยา นิลประพฤกษ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การใช้หญ้าสีม่วงที่มีส่วนประกอบของสารแอนโทไซยานินในระดับสูงต่อสมรรถนะการผลิตและความสามารถในการส่งเสริมสุขภาพของแพะในช่วงการให้นม
Use of high levels of anthocyanin grass (Purple grasses) on production performance and health-promoting capacities in lactating goats
1. อรรถพล เทียนทอง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อนันท์ เชาว์เครือ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนาการใช้โปรไบโอติกส์ที่มีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันในการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกรรายย่อย
The Technology Transfer and Development of Using Immuno-moderating Probiotics in Native Chicken Rearing by Small Farmers
สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การศึกษาผลผลิต ลักษณะทางพืชอาหารสัตว์ คุณค่าทางโภชนะและปริมาณสาร Anthocyanins ของหญ้า Purple Fountain grass และหญ้า Purple Napier grass
Study of yields, forage characterization, nutritive values and anthocyanins contents from Purple Fountain grass and Purple Napier grass
1. ศรัณย์พงศ์ ทองเรือง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุภาวดี มานะไตรนนท์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การสำรวจแมลงศัตรูส้มแก้วและการปกป้องผลส้มแก้วจากแมลงศัตรูพืชด้วยวัสดุห่อผลที่ต่างกัน
A survey of insect pests of Citrus nobilis and its fruit protection from insect pests using various cover materials
1. กฤษณะ เรืองฤทธิ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุวิมล ชินกังสดาร – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ฤทธิ์ทางชีวภาพและองค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยจากส้มแก้ว (Citrus nobilis)
Biological activities and chemical composition of essential oil from Som Keaw (Citrus nobilis)
1. รัชษาวรรณ์ มงคล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พฤฒิยา นิลประพฤกษ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. อลิสา คงใจมั่น โยชิดะ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. วรินทร ชวศิริ – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2562 สวทช. การจัดการดินและปุ๋ยแบบแม่นยำสำหรับข้าวด้วยการใช้แอพพลิเคชั่น All-Rice1
Precision soil and fertilizer management for rice production using All-Rice1 application
1. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ธนวดี พรหมจันทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. วิไลวรรณ สิริโรจนพุฒิ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สวทช. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อการผลิตกล้วยหอมทองปลอดโรค
Plant tissue culture for the production of Hom-Thong Disease-free banana
1. ธนวดี พรหมจันทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. รัชษาวรรณ์ มงคล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. อลิสา คงใจมั่น โยชิดะ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
5. อุไร กาลปักษ์ – สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านลาด
2562 ส่วนตัว การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของข้าวไร่
Study of genetic variation of upland rice
1. เชาวนี เล้าสุทธิพงษ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ภวัต เสรีตระกูล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) Standardized total tract digestibility of phosphorus in Thai palm kernel expellers and the effect of phytase in diets fed to growing pigs ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การขยายผลธนาคารปูม้าในพื้นที่ชายฝั่งอ่าวไทยฝั่งตะวันตกในเขตจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เพื่อการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน (ระยะที่ 2)
The Expansion of Blue Swimming Crab Bank in the West Coast of the Gulf of Thailand in Phetchaburi and Prachuap Khiri Khan Region for Sustainable Coastal Resource Restoration (Phase II)
1. ภวพล คงชุม (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สมฤดี ศิลาฤดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. อนวัช บุญญภักดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. สรณฐ โชตินิพัทธ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
5. สาวิกา กัลปพฤกษ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
6. นรินทร์ สังข์รักษา – สาขาวิชาการจัดการชุมชน คณะวิทยาการจัดการ
7. ทิพย์สุดา ชงัดเวช – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
2562 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) การพัฒนาสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อการส่งออก
The development of feed formulation for rearing crickets for exportation
1. กฤษณะ เรืองฤทธิ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 2. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ การศึกษาชนิดและองค์ประกอบเยื่อใยในวัตถุดิบอาหารสัตว์ต่อคุณสมบัติความเป็นสารเสริมชีวนะและการส่งเสริมสุขภาวะลำไส้ของไก่เนื้อ
Study of fiber types and components of feed stuff on prebiotic properties and gut health of broiler chickens
1. ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พฤฒิยา นิลประพฤกษ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ การทดสอบประสิทธิภาพของการเสริมโปรไบโอติก Lactobacillus plantarum, bacillus licheniformis และ Saccharomyces cerevisiae ต่ออัตราการรอดตายและการเจริญเติบโตของลูกปูม้าในระยะวัยอ่อน
The effects of dietary probiotics supplementation Lactobacillus plantarum, bacillus licheniformis and Saccharomyces cerevisiae on survival and growth of blue swimming crablets
1. สาธิต บุญน้อม (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อนวัช บุญญภักดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ การสร้างกลุ่มเครือข่ายนักวิจัยเกี่ยวกับโปรไบโอติกส์เพื่อพัฒนาการเลี้ยงสัตว์อินทรีย์อย่างยั่งยืน
The Networking of Probiotics Researchers Development for Sustainable Organic animal farming
1. จารุณี เกษรพิกุล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ ผลของโอลิโกแซคคาไรด์จากเศษเหลือทางการเกษตรเพื่อใช้เป็นพรีไบโอติกส์ในอาหารสัตว์
Effect of oligosaccharides from agricultural waste as prebiotics in animal feed
1. พรพรรณ แสนภูมิ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. สุภาวดี ฉิมทอง – ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2562 สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ ศักยภาพของพรีไบโอติกส์จากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตรต่อประสิทธิภาพการผลิตไก่เนื้อ
Potential of agricultural waste as probiotic on broiler productive performance
1. จันทร์จิรา สิทธิยะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พรพรรณ แสนภูมิ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ ศึกษาชนิดและองค์ประกอบเยื่อใยในวัตถุดิบอาหารสัตว์ต่อคุณสมบัติความเป็น พรีไบโอติกส์ การส่งเสริมสุขภาวะลำไส้ และประสิทธิภาพการผลิตของไก่เนื้อ
Study of fiber types and components of feed stuff on prebiotic properties, gut health and production performance of broiler chickens
1. ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พฤฒิยา นิลประพฤกษ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการให้ผลผลิตและคุณภาพของส้มแก้ว
The study of factors that related to the suitable area for yield and fruit quality of Som Keaw
1. อลิสา คงใจมั่น โยชิดะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) การพัฒนาเทคนิค และชุดตรวจสอบด้วยเทคนิค Loop Mediated Isothermal Amplification (LAMP) ในการตรวจวินิจฉัยเชื้อ Methicillin-resistance Staphylococcus aureus (MRSA) ที่ก่อโรคเต้านมอักเสบในน้ำนมโคนม
Technique development and test kit development of Loop Mediated Isothermal Amplification (LAMP) based assays for diagnostic of Methicillin-resistance Staphylococcus aureus (MRSA) causes mastitis in dairy cows
1. ศิริชัย เอียดมุสิก (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ภวัต เสรีตระกูล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. กนกอร นนท์ศิริ
2562 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ความต้องการโภชนะของโคนมในประเทศไทย: ความต้องการพลังงานของโครีดนม (ปี2)
Nutrient Requirements of Dairy Cattle in Thailand: Energy requirement of lactating dairy cows (the 2nd year)
1. รศ.ดร.กฤตพล สมมาตย์ (หน.) – มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. นายอิทธิพล เผ่าไพศาล
3. ผศ.ชัยวัฒน์ จรัสแสง
4. นายอดิศักดิ์ สังข์แก้ว
5. อนันท์ เชาว์เครือ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2562 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) งานวิจัยในโครงการวิจัยเรื่อง ความต้องการโภชนะของโคนมในประเทศไทย : ความต้องการพลังงานของโครีดนม (ปี 2)
Nutrient Requirements of Dairy Cattle in Thailand: Energy requirement of lactating dairy cows (the 2nd year)
1. รศ.ดร.กฤตพล สมมาตย์ (หน.)
2. อิทธิพล เผ่าไพศาล
3. ชัยวัฒน์ จรัสแสง
4. อดิศักดิ์ สังข์แก้ว
5. อนันท์ เชาว์เครือ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2561 ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานของอาจารย์รุ่นใหม่ สกว. Genetic diversity and structure of hyacinth bean (Lablab purpureus (L.) Sweet) gene pool based on SSR marker analysis อลิสา คงใจมั่น โยชิดะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2561 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) การจัดการความรู้การใช้ประโยชน์จากกากชานอ้อยเพื่อเป็นอาหารสัตว์ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 1. ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. เชิดพงษ์ ขีระจิตต์ – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. กนกกาญจน์ ศศิวิมลฤทธิ์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ปภัสราภรณ์ เหรียญทอง – กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนหนองกลางด่านพัฒนา
2561 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) การใช้ประโยชน์กรดอินโดลแอซีติกที่ผลิตโดยแบคทีเรียเพื่อการปลูกข้าว
Utilization of indole acetic acid (IAA) produced by bacteria for rice planting
1. พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. เสาวภา เขียนงาม – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พิมพ์ใจ มีตุ้ม – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ศิรพรรณ สุคนธสิงห์ – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5. สมพร สืบสมบัติ – สำนักงานเกษตรอำเภอหัวหิน
6. ชนาพร ตระกูลแจะ – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2561 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) การวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการผสมพันธุ์ด้วยเทคนิคน้ำเชื้อแช่แข็งแบบง่ายสู่การเพิ่มผลผลิตวัวลานเพชรบุรี 1. พิรวิทย์ เชื้อวงษ์บุญ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. วรางคณา กิจพิพิธ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ประชุม เกตุพยัคฆ์ – สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเพชรบุรี
5. พุทธพร พุ่มโรจน์ – มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง
2561 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัดเม็ดเพื่อเพิ่มผลิตภาพและลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของระบบการผลิตข้าว” โครงการที่ 1 “ศึกษาผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัดเม็ดค่อการผลิตข้าวและประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากปุ๋ย” โครงการที่ 2 “ศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหว่างการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัดเม็ดและการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม” โครงการที่ 3 “การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัดเม็ดเพื่อเพิ่มผลิตภาพและลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของระบบการผลิตข้าว” 1. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. จีระศักดิ์ ชอบแต่ง – สำนักงานพัฒนาอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์
3. ธนวดี พรหมจันทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. นายธีรยุทธ คล้ำชื่น – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
5. ศิริวรรณ แดงฉ่ำ – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
2561 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมโคในจังหวัดเพชรบุรีเพื่อความยั่งยืน : กรณีการถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตน้ำยาซีเอ็มทีที่ผลิตเอง และการตรวจน้ำนมด้วยน้ำยาซีเอ็มทีเพื่อลดปัญหาโรคเต้านมอักเสบของโคนม” โครงการที่ 1 “การถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตน้ำยาซีเอ็มที และการตรวจน้ำนมด้วยน้ำยาซีเอ็มทีเพื่อลดปัญหาโรคเต้านมอักเสบของโคนม” โครงการที่ 2 “การตรวจสอบประสิทธิภาพของน้ำยาตรวจสอบโรคเต้านมอักเสบที่ผลิตขึ้นเองสำหรับฟาร์มโคนมรายย่อยในเขตพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี” 1. ศิริชัย เอียดมุสิก (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อรรถพล เทียนทอง – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พิพัฒน์ อรุณวิภาส – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2561 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การใช้หญ้าเนเปียร์ทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงปลาอีกงเชิงพาณิชย์ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
Replacement of fishmeal by napier grass in formulated diet for commercial culture of long-whiskered catfish (Mystus gulio)
1. แก้วตา ลิ้มเฮง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พัชรินทร์ สายพัฒนะ – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2561 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การดัดแปลงจาวมะพร้าวเพื่อเตรียมเป็นสารเสริมชีวนะในอาหารสัตว์ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
Modified embryo bud of a coconut tree to prepare for a prebiotics in animal feed
1. ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ปณิดา ดวงแก้ว – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พิมพ์ใจ มีตุ้ม – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2561 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การทดสอบประสิทธิภาพของแบคทีเรียโปรไบโอติกส์ที่ได้รับการเก็บรักษาสายพันธุ์ในระยะยาวด้วยเทคนิคการระเหยแห้งในสภาวะสูญญากาศ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
Efficacy test of collected probiotic strains after long-term preservation liquid drying under vacuum condition
1. จารุณี เกษรพิกุล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2561 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การประเมินความสามารถในการต้านทานการหักล้มและการสร้างลูกผสมเพื่อปรับปรุงลักษณะต้านทานต่อการหักล้มในข้าวไร่ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
Evaluation on lodging resistant ability and hybrid synthesis for improving some loding resistant characteristics in upland rice
1. พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ปณิดา ดวงแก้ว – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ดร.วีรพันธ์ กันแก้ว – มูลนิธิโครงการหลวง
2561 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาคู่มือฉบับภาษาอังกฤษประจำศูนย์เรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ กรณีนายสำรอง แตงพลับ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
The Development of English Version Handbook on the New Theory Agriculture Study Center: Case study Mr. Samrong Taengplub
1. นวลเพ็ญ พ่วงพันสี (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พิชญา ติยะรัตนาชัย – สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
2561 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การศึกษาการใช้อาร์จินีนและแคลเซียมแลคเตทในการยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลในผักกาดหวานแปรรูปพร้อมบริโภค (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
The Study of Arginine and Calcium Lactate Application for Inhibiting Browning Symptom in Fresh-Cut Romaine Lettuce
พฤฒิยา นิลประพฤกษ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2561 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลของการเสริมผงถ่านร่วมกับน้ำส้มควันไม้ ต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตคุณภาพซาก สัณฐานวิทยาและจุลินทรีย์ในลำไส้ แอมโมเนียไนโตรเจนในมูล และการย่อยได้ของโภชนะในอาหารไก่เนื้อ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
Effects of dietary charcoal powder including wood vinegar liquid on growth performance, carcass quality, intestinal morphology, microflora population and ammonia nitrogen in feces and nutrient digestibility in broiler diets
1. จันทร์จิรา สิทธิยะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อรรถพล เทียนทอง – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ดุจดาว คนยัง – มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่เฉลิมพระเกียรติ
2561 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล การสำรวจสำมะโนประชากรม้าน้ำในบริเวณหาดบางแสน ชลบุรี 1. นางสาวรติมา ครุวรรณเจริญ (หน.)
2. ชนม์ ภู่สุวรรณ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2561 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) การขยายผลธนาคารปูม้าในพื้นที่ชายฝั่งอ่าวไทยฝั่งตะวันตกในเขตพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เพื่อการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน ภวพล คงชุม – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2561 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โครงการวิจัยย่อย” ศึกษารูปแบบการผลิตกรดอินโดลแอซีติกจากแบคทีเรียที่เหมาะสมสำหรับเกษตรกร”
Study on production pattern of indole acetic acid (IAA) produced by bacteria that suitable for farmers
1. พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. เสาวภา เขียนงาม – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. พิมพ์ใจ มีตุ้ม – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ศิรพรรณ สุคนธสิงห์
5. สมพร สืบสมบัติ
6. ชนาพร ตระกูลแจะ
2561 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพิ่มศักยภาพการผลิตเมลอนในโรงเรือน กฤษณะ เรืองฤทธิ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของการใช้น้ำหมักสับปะรดต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายในการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม
Effect of Fermented Pineapple on Growth and Survival Rates on Rearing Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei)
1. เสาวภา เขียนงาม (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. แก้วตา ลิ้มเฮง – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของอาหารผสมเสร็จหมักจากเปลือกตาลอ่อนต่อค่าการย่อยได้ในหลอดทดลองและผลผลิตแก๊ส
Effect of fermented total mixed ration (FTMR) from sugar palm peel on in vitro digestibility and gas production
1. พรพรรณ แสนภูมิ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อนันท์ เชาว์เครือ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. สุภาวดี ฉิมทอง – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 จังหวัดเพชรบุรี การเพิ่มประสิทธิภาพและลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของระบบการผลิตข้าวในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีโดยใช้เทคนิคเกษตรกรรมแม่นยำสูง (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) 1. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ชนม์ ภู่สุวรรณ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. วิไลวรรณ สิริโรจนพุฒิ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ธนวดี พรหมจันทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
5. จีระศักด์ ชอบแต่ง 6. อุไร กาลปักษ์
2560 ทุนวิจัยจากโครงการวิจัยนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานรากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกาา ศึกษาสภาวะเหมาะสมเพื่อเพิ่มการผลิตกรดอินโดลแอซีติกจากแบคทีเรียเอนโดไฟท์ที่คัดแยกได้จากข้าวไร่พื้นเมือง
Study on the optimization for increase production of indole acetic acid from bacterial endophyte isolated from indigenous upland rice
1. เสาวภา เขียนงาม (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ศิรพรรณ สุคนธสิงห์ – ม. เกษตรศาสตร์
3. พิมพ์ใจ มีตุ้ม – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สกอ. การจัดการเรียนการสอนด้วยโครงงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชา 710 499 โครงการด้านการผลิตสุกร (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) 1. ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พิเชษฐ์ ศรีบุญยงค์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) การจัดการความรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสานจากป่านศรนารายณ์ (ระยะเวลาดำเนินการ 10 เดือน) 1. เชิดพงษ์ ชีระจิตต์ (หน.) – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. มธุรดา กีฬา – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. สายันต์ สนใจ – สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง
2560 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงเป็ดไข่แบบต้นทุนต่ำเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน (ระยะเวลาดำเนินการ 10 เดือน) 1. พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. จันทร์จิรา สิทธิยะ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ยุวเรศ เรืองพานิช – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2560 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) แผนงานวิจัย เรื่อง “แบคทีเรียเอนโดไฟท์ผลิตกรดอินโดลแอซีติกที่แยกได้จากข้าวไร่พื้นเมืองและผลที่มีต่อการเจริญเติบโตของข้าว” 1. เสาวภา เขียนงาม (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ศิรพรรณ สุคนธสิงห์ – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. พิมพ์ใจ มีตุ้ม – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
5. สรารัตน์ มนต์ขลัง – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
6. ไสว แจ่มแจ้ง – มูลนิธิชัยพัฒนา
2560 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การจัดการการผลิตปัจจัยที่สัมพันธ์กับต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงโคเนื้อปล่อยแทะเล็มข้างถนนเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษา จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1. สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. จารุณี เกษรพิกุล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การจัดการปุ๋ยร่วมกับสารปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตของสับปะรดและผลต่อสมบัติของดิน 1. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ธนวดี พรหมจันทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การใช้ข้าวโพดเทียมจากกากมะพร้าวสกัดน้ำมันร่วมกับกากมันสำปะหลังป่นในอาหารสุกรและไก่เนื้อ 1. ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การใช้ข้าวโพดเทียมจากกากมะพร้าวสกัดน้ำมันร่วมกับกากมันสำปะหลังป่นในอาหารสุกรและไก่เนื้อ ภัทราพร ภุมรินทร์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การเพิ่มคุณค่าทางโภชนะและการกำจัดสารยับยั้งการใช้ประโยชน์ได้ของโภชนะในกากถั่วเหลืองสำหรับผลิตอาหารสัตว์ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ” (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) 1. บุษราภรณ์ งามปัญญา (หน.) – ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2. พิมพ์ชนก จตุรพิรีย์ – ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3. สุภาวดี ฉิมทอง – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. สิริพร พงศ์ทองผาสุข – ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
5. สุวัฒนา พฤกษะศรี – ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
6. รุจิกาญจน์ นาสนิท – ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
7. ฑิพาภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ – ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2560 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้กากเนื้อในปาล์มน้ำมันเพิ่มโปรตีนโดยกระบวนการหมักด้วยเชื้อยีสต์ในอาหารไก่เนื้อ 1. พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ภัทราพร ภุมรินทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ดาวรุ่ง ศิลาอ่อน – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สวทน. การควบคุมเพลี้ยไฟบนเลมอนในโรงเรือน กฤษณะ เรืองฤทธิ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) การลดกลิ่นแอมโมเนียและการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาของลำไส้ไก่กระทงหลังจากได้รับอาหารที่มีเยื่อใย
Ammonia emission and intestinal morphological alteration of broilers affected by dietary fiber sources
จันทร์จิรา สิทธิยะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายชุมชนและสังคมและมูลนิธิมั่นพัฒนา การถ่ายทอดเทคโนโลยีพันธุกรรมและการผลิต ข้าวไร่ในพื้นที่บ้านป่าละอู ตำบลห้วยสัตว์ใหญ่ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Knowledge transferring on genetic and productive of upland rice at Pala-U village, Huai Sat Yai, Hua Hin district, Prachuap Khiri Kha
พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) จากแผนวิจัย เรื่อง ศักยภาพในการผลิตทานตะวันเป็นพืชหมุนเวียนในนาข้าวและการใช้ประโยชน์จากครบวงจรเพื่อเพิ่มมูลค่า
Potential of sunflower production on rotate planting in rice field and increasing the value on complete utilization
1. ศิวพร แพงคำ (หน.)
2. พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การศึกษาระดับพลังงานและโปรตีนต่อการเจริญเติบโตและลักษณะซากของแพะห้วยทรายขุน 1. อนันท์ เชาว์เครือ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. พรพรรณ แสนภูมิ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. นุชนาด สายทอง – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2560 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) ผลของอาหารผสมเสร็จหมักจากเศษเหลือสับปะรดต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตและการย่อยได้โภชนะในแพะลูกผสม
Effect of fermented total mixed ration (FTMR) from pineapple wastes on growth performance and nutrients digestibility in crossbred goat
1. พรพรรณ แสนภูมิ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. อนันท์ เชาว์เครือ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. สุภาวดี ฉิมทอง – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การควบคุมหนอนแมลงวันบ้านโดยใช้มวนตัวห้ำ Eocanthecona furcellata (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) กฤษณะ เรืองฤทธิ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การเปลี่ยนแปลงของเอนไซด์เมทริกซ์เมทัลโลโปรตีเอส(MMPs) และ ตัวยับยั้ง(TIMPs) ในพลาสมาและสารคัดหลั่งจากต่อมน้ำนมของโคนมที่เป็นโรคเต้านมอักเสบในช่วงระหว่างการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
Evaluation of bioactive compound of antagonistic bacteria to control anthracnose disease on mango
อรรถพล เทียนทอง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้อาร์จินีนในการยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลในกระหล่ำปลีม่วง (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) พฤฒิยา นิลประพฤกษ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจปลูกกล้วยหอมทองของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จำกัด จังหวัดเพชรบุรี (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) กนกกาญจน์ ศศิวิมลฤทธิ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การศึกษาผลผลิตลักษณะทางพืชอาหารสัตว์และคุณค่าทางโภชนะของหญ้าไข่เหาสำหรับปลูกเป็นหญ้าอาหารช้างป่าในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) ศรัณย์พงศ์ ทองเรือง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การหายีนที่ควบคุมลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการพักตัวของเมล็ดในถั่วฝักยาว (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) อลิสา คงใจมั่น โยชิดะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ความเป็นไปได้ทางการเงินในการผลิตกระแสไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพเพื่อลดต้นทุนค่าไฟฟ้าภายในฟาร์มสาธิตคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) มธุรดา กีฬา (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ประสิทธิภาพของสารสกัดจากต้นขี้เหล็กอเมริกันต่อการต้านเชื้อโรคพืช การยับยั้งการงอกและการเจริญเติบโตของวัชพืช (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
The efficiency of Senna spectabilis extracts against plant pathogens, weed inhibitory germination and seedling growth
รัชษาวรรณ์ มงคล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของการเสริมผงถ่านร่วมกับน้ำส้มควันไม้ต่อสมรรถภาพการผลิต คุณภาพไข่ และจุลินทรีย์ในข้อมูลของไก่ไข่ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี)
Effects of dietary charcoal powder including wood vinegar liquid on productive performance, egg quality and fecal microflora population in laying hens
จันทร์จิรา สิทธิยะ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การใช้เอนไซม์ไฟเตสระดับสูงในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่เนื้อ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) พิเชษฐ ศรีบุญยงค์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2559 สกอ. (เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง) ศักยภาพของวัสดุพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรมน้ำตาลทรายเพื่อเป็นสารตั้งต้นในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพ และผลต่อผลผลิต และคุณภาพของข้าว
Potential of sugar industrial-wastes as substrates for quality organic fertilizer production on yield and quality of rice
1. อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ธนวดี พรหมจันทร์ – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. ศิริวรรณ แดงฉ่ำ – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
2558 กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์เพื่อประยุกต์ใช้ทางด้านเภสัชกรรม อาหาร เครื่องสำอาง เกษตรกรรม และสิ่งแวดล้อม 1. สมบูรณ์ ธนาศุภวัฒน์ (หน.) – จุฬาลงกรณ์
2. สมพร มูลมั่งมี – สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
3. เสาวภา เขียนงาม – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
4. ศิรพรรณ สุคนธสิงห์ – ม. เกษตรศาสตร์
5. อัญชริดา อัครจรัลญา – จุฬาลงกรณ์
6. พรชัย โรจน์สิทธิศักดิ์ – จุฬาลงกรณ์
2558 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของการเลี้ยงแพะห้วยทรายด้วยอาหารทีเอ็มอาร์สูตรผสมกากเนื้อในสับปะรด (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) อนันท์ เชาว์เครือ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2558 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การศึกษาการปรับปรุงองค์ประกอบทางโภชนาการของกากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันและการย่อยได้ของโปรตีนโดยใช้เอนไซม์ร่วมกับกากยีสต์ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) ปณิดา ดวงแก้ว (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2558 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร การศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของพยาธิ Haemonchus contortus ที่แยกจากแพะอำเภอชะอำ
Genetic Variation of Haemonchus contortus isolates from Goat at Cha-Am District
1. เชาวนี เล้าสุทธิพงษ์ (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. ศิริชัย เอียดมุสิก – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2558 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของการเสริมแมนโนโอลิโกแซคคาไรด์จากกากมะพร้าวในอาหารต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ และความต้านทานต่อการติดต่อเชื้อ Aeromonas hydrophila ของปลานิล (ระยะเวลาทำการวิจัย 6 เดือน) 1. ภวพล คงชุม (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. สุภาวดี ฉิมทอง – งานกิจกรรมพิเศษ สำนักงานคณบดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2558 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของการเสริมวิตามินซีในอาหารสำเร็จรูปต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายและระบบภูมิคุ้มกันในการเลี้ยงปลาอีกงเชิงพาณิชย์ (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) แก้วตา ลิ้มเฮง (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2558 กองทุนวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ผลของการเสริมแบคทีเรียโปรไบโอติก Enterococcus Italicus ต่อระดับภูมิคุ้มกันและพยาธิสภาพของลูกสุกรดูดนมที่ติดเชื้อ Porcine Epidemic Diarrhea (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) 1. จารุณี เกษรพิกุล (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 2. สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2558 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร การทดสอบการยับยั้งการทำงานของระบบกำจัดและขับสารพิษของลูกน้ำยุงลาย Aedes aegypti โดยสารสกัดจากพืชและสารจำเพาะบางชนิดเพื่อเป็นเป้าหมายในการควบคุมยุงที่ทนต่อสารกำจัดแมลง 1. ปณิดา ดวงแก้ว (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. นวลอนงค์ จิระกาญจนากิจ – มหาวิทยาลัยมหิดล
3. พรพิมล รงค์นพรัตน์ – มหาวิทยาลัยมหิดล
2558 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางซีรั่มต่อพยาธิใบไม้ในเลือด Schistosoma mekongi” (โครงการต่อเนื่อง 2 ปี ปีนี้เป็นปีที่ 2) (งบบริหาร) นรินทร์ ปริยวิชญภักดี (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2558 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางซีรั่มต่อพยาธิใบไม้ในเลือด Schistosoma mekongi” (โครงการต่อเนื่อง 2 ปี ปีนี้เป็นปีที่ 2) โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนาการตรวจวินิจฉัยทางซีรั่มต่อพยาธิใบไม้ในเลือด Schistosoma mekongi ด้วยวิธี Sandwich Elisa 1. ยุภา ปู่แตงอ่อน (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2. นรินทร์ ปริยวิชญภักดี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
3. จรูญโรจน์ โชติวิวัฒนกุล – มหาวิทยาลัยมหิดล
4. รพีพรรณ วานิชวิริยกิจ – มหาวิทยาลัยมหิดล
5. ญาณิน ลิมปานนท์ – มหาวิทยาลัยมหิดล
6. พีรพล ชูส่งแสง – มหาวิทยาลัยมหิดล
2558 สวทช. การศึกษาความสัมพันธ์ของสนิปส์ในยีนเปปไทด์ต้านจุลชีพกับความต้านทนเชื้อวิบริโอพาราฮีโมไลติคัสของกุ้งขาวแวนนาไม (ระยะเวลาทำการวิจัย 1 ปี) ภวพล คงชุม (หน.) – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
2556 กองทุนพัฒนาวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรีและงานวิจัย การศึกษาผลการใช้สังคมออนไลน์เพื่อการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
A Study on the Use of Social Media for the Enhancement of English Language Skills
นวลเพ็ญ พ่วงพันสี – คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร